วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555

สารสนเทศ






สารสนเทศ
สารสนเทศ (information)  เป็นผลลัพธ์ของการประมวลผล การจัดดำเนินการ และการเข้าประเภทข้อมูลโดยการรวมความรู้เข้าไปต่อผู้รับสารสนเทศนั้น สารสนเทศมีความหมายหรือแนวคิดที่กว้าง และหลากหลาย ตั้งแต่การใช้คำว่าสารสนเทศในชีวิตประจำวัน จนถึงความหมายเชิงเทคนิค ตามปกติในภาษาพูด แนวคิดของสารสนเทศใกล้เคียงกับความหมายของการสื่อสาร เงื่อนไข การควบคุม ข้อมูล รูปแบบ คำสั่งปฏิบัติการ ความรู้ ความหมาย สื่อความคิด การรับรู้ และการแทนความหมาย

ปัจจุบันผู้คนพูดเกี่ยวกับยุคสารสนเทศว่าเป็นยุคที่นำไปสู่ยุคแห่งองค์ความรู้หรือปัญญา นำไปสู่สังคมอุดมปัญญา หรือสังคมแห่งสารสนเทศ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ แม้ว่าเมื่อพูดถึงสารสนเทศ เป็นคำที่เกี่ยวข้องในศาสตร์สองสาขา คือ วิทยาการสารสนเทศ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งคำว่า "สารสนเทศ" ก็ถูกใช้บ่อยในความหมายที่หลากหลายและกว้างขวางออกไป และมีการนำไปใช้ในส่วนของ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การประมวลผลสารสนเทศ

สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแลเป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกำหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบขั้นตอนการควบคุม กำหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทำกับข้อมูลว่าจะกระทำได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทำลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกำหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบเดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูลซ้ำซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล

[แก้]สารสนเทศสามารถหมายถึงคุณภาพของข้อความจากผู้ส่งไปหาผู้รับ สารสนเทศจะประกอบไปด้วย ขนาดและเหตุการณ์ของสารสนเทศนั้น สารสนเทศสามารถแทนข้อมูลที่มีความถูกต้องและความแม่นยำหรือไม่มีก็ได้ ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งข้อเท็จจริงหรือข้อโกหกหรือเป็นเพียงเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น สารสนเทศจะเกิดขึ้นเมื่อมีผู้ส่งข้อความและผู้รับข้อความอย่างน้อยฝ่ายละหนึ่งคนซึ่งทำให้เกิดการสื่อสารของข้อความและเข้าใจในข้อความเกิดขึ้น ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับ ความหมาย ความรู้ คำสั่ง การสื่อสาร การแสดงออก และการกระตุ้นภายใน การส่งข้อความที่มีลักษณะเป็นสารสนเทศ ในขณะเดียวกันการบกวนการสื่อสารสารสนเทศก็ถือเป็นสารสนเทศเช่นเดียวกันสารสนเทศในความหมายของข้อความ

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน


ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน


         



       คนเราทุกวันนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่มีการติดต่อกับโลกภายนอก การรับรู้ข่าวสาร เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์การรับฟังวิทยุหรือดูโทรทัศน์ โทรสาร ก็เป็นการใช้เทคโลยีสารสนเทศ จากจากนั้น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัต (ตู้เอทีเอ็ม) ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ไม่เฉพาะคนในเมืองเท่านั้น แม้แต่คนในชนบทก็ยังมีส่วนต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันด้วย เช่น เมื่อไปทำบัตรประจำตัวประชาชนที่อำเภอ ทางอำเภอจะเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูลกลาง ของสำนักทะเบียน กระทรวงมหาดไทยซึ่งเชื่อมเป็นเครือข่ายไปทั่วไปประเทศ สามารถเรียกดูได้ทันที เราเรียกระบบที่ต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายที่สามารถเยกใช้ทันที เช่นนนี้ว่า ระบบออนไลน์ ซึ่งมีประโยชน์มากและเป็นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นและได้ผลดีมาก เพราะเป็นวิธีเดียวที่จะสามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกันทั่วประเทศ และสามารถเห็นได้พร้อมกันทั่วประเทศ อีกกรณีหนึ่งคือ การไปรับบริการรักษาตามโรงพยาบาล เมื่อก่อนนี้โรงพยาบาลต่าง ๆ มีระบบเวชระเบียน และผู้ป่วยแต่ละคนจะมีบัตรประจำตัวซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ให้ดี เพราะเมื่อไปติดต่อครั้งต่อไปเจ้าหน้าที่จะขอดูบัตรหากไม่มีบัตรและเลขที่ประจำตัวไม่มีก็ค้นหาได้ยากมาก แต่ในปัจจุบันโรงพยาบาลเกือบทุกแห่งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการกับปัญหาดังกล่าว เพียงแต่ผู้ป่วยสามารถบอกชื่อนามสกุลได้
    เจ้าหน้าที่สามารถเรียกเวชระเบียนออกมาได้ภายในเวลาชั่วพริบตาและในหลาย ๆ โรงพยาบาลนี้ที่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงกันอย่างทั่วถึง ก็อาจไม่จำเป็นต้องมีเวชระเบียนที่เป็นเอกสารก็ได้ เพราะเวชระเบียนในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่งจากคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไปปรากฎบนจอคอมพิวเตอร์ในห้องตรวจทันทีเมื่อแพทย์ทำการตรวจโรคและสั่งยา แพทย์ก็จะพิมพ์คำสั่งลงในเครื่องขณะเดียวกันคำสั่งก็จะถูกส่งไปแผนกที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนกเอกซเรย์ แผนกจ่ายยาเป็นต้น



ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้ในชีวิตประจำวัน


         


       คนเราทุกวันนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองไม่สามารถอยู่ได้โดยไม่มีการติดต่อกับโลกภายนอก การรับรู้ข่าวสาร เช่น การอ่านหนังสือพิมพ์การรับฟังวิทยุหรือดูโทรทัศน์ โทรสาร ก็เป็นการใช้เทคโลยีสารสนเทศ จากจากนั้น การถอนเงินจากเครื่องจ่ายเงินอัตโนมัต (ตู้เอทีเอ็ม) ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ไม่เฉพาะคนในเมืองเท่านั้น แม้แต่คนในชนบทก็ยังมีส่วนต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวันด้วย เช่น เมื่อไปทำบัตรประจำตัวประชาชนที่อำเภอ ทางอำเภอจะเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูลกลาง ของสำนักทะเบียน กระทรวงมหาดไทยซึ่งเชื่อมเป็นเครือข่ายไปทั่วไปประเทศ สามารถเรียกดูได้ทันที เราเรียกระบบที่ต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายที่สามารถเยกใช้ทันที เช่นนนี้ว่า ระบบออนไลน์ ซึ่งมีประโยชน์มากและเป็นตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นและได้ผลดีมาก เพราะเป็นวิธีเดียวที่จะสามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกันทั่วประเทศ และสามารถเห็นได้พร้อมกันทั่วประเทศ อีกกรณีหนึ่งคือ การไปรับบริการรักษาตามโรงพยาบาล เมื่อก่อนนี้โรงพยาบาลต่าง ๆ มีระบบเวชระเบียน และผู้ป่วยแต่ละคนจะมีบัตรประจำตัวซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ให้ดี เพราะเมื่อไปติดต่อครั้งต่อไปเจ้าหน้าที่จะขอดูบัตรหากไม่มีบัตรและเลขที่ประจำตัวไม่มีก็ค้นหาได้ยากมาก แต่ในปัจจุบันโรงพยาบาลเกือบทุกแห่งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาจัดการกับปัญหาดังกล่าว เพียงแต่ผู้ป่วยสามารถบอกชื่อนามสกุลได้
    เจ้าหน้าที่สามารถเรียกเวชระเบียนออกมาได้ภายในเวลาชั่วพริบตาและในหลาย ๆ โรงพยาบาลนี้ที่ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงกันอย่างทั่วถึง ก็อาจไม่จำเป็นต้องมีเวชระเบียนที่เป็นเอกสารก็ได้ เพราะเวชระเบียนในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะถูกส่งจากคอมพิวเตอร์แม่ข่ายไปปรากฎบนจอคอมพิวเตอร์ในห้องตรวจทันทีเมื่อแพทย์ทำการตรวจโรคและสั่งยา แพทย์ก็จะพิมพ์คำสั่งลงในเครื่องขณะเดียวกันคำสั่งก็จะถูกส่งไปแผนกที่เกี่ยวข้อง เช่น แผนกเอกซเรย์ แผนกจ่ายยาเป็นต้น

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ไอที
             (อังกฤษ: Information technology หรือ IT) หมายถึงเทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อยเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซึ่งในแต่ละกลุ่มนี้ยังแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้อีกมากมาย องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้